วันอังคารที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

แนวข้อสอบมาตรฐานช่างแผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์


“ เปรียบเทียบ แลกตำแหน่ง จากกรณีปลายสุด 2 กรณี ” คือนิยามของการเรียงข้อมูลในข้อใด
•  Bubble Sort

จะทราบได้อย่างไรว่าบริดจ์กระแสตรงมีสภาวะสมดุล
•  เข็มชี้ที่ตำแหน่งศูนย์

สายส่งชนิดใดที่มีค่าความต้านทานภายในประมาณ 75 โอห์ม
•  สาย Coaxial แบบบาง

เทคโนโลยี “ Hyper Threading ” เกิดขึ้นกับสถาปัตยกรรม ซีพียูรุ่นใด
•  ซีพียูรุ่น Pentium 4

การดึงข้อมูลแบบเข้าก่อนออกที่หลัง เป็นการจัดคิวแบบใด?
•  แบบสแต็ค

คีย์ชนิดใด ที่เลือกมาเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้
•  คีย์นอก

กระแสที่ไหลผ่านไดโอดที่มีค่าสูงสุดเกิดขึ้นในขณะเปิด switch ขอวงจร power supply เรียกว่าอะไร
•  Forward current

int[] myArray = new int [10]; ตัวแปรนี้มีชื่อว่าอะไร
•  myArray

กำหนดให้ m = 1 หลังจากทำคำสั่งชุดนี้แล้ว a มีค่าเท่าใด do{ a = m; m += 2; }while(m != 7);
•  1

อะไรที่ทำให้อิเล็กตรอนเกิดการเคลื่อนที่ได้
•  แรงดันไฟฟ้า

ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องตามคุณสมบัติของวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
•  ค่าความต้านทานรวมจะมีค่าน้อยกว่าตัวต้านทานที่น้อยที่สุด

คำสั่งที่เพิ่มข้อมูลรายการใหม่เข้าไปในรีเลชันที่สร้างแล้ว คือคำสั่งใด
•  INSERT

เมื่อป้อนสัญญาณที่ขั้วเบส และนำสัญญาณออกที่คอลเลกเตอร์จะเป็นการต่อวงจรแบบ
•  common collector

ข้อใดคือหน้าที่การทำงานของ “ ROM BIOS ”
•  เก็บข้อมูลอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต

วงจรแบ่งแรงดันใช้หลักการในข้อใด
•  วงจรไฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรม

การส่งสัญญาณที่สถานีส่งและสถานีรับสามารถส่งสัญญาณได้พร้อมกันเรียกว่าเป็นการส่งสัญญาณแบบใด
•  Full-Duplex

มิเตอร์เครื่องหนึ่งมีค่า Im 1 mA , Rm 2 กิโลโอห์ม ต้องการนำไปวัดแรงดันได้สูง 250 V ต้องใช้ R มาต่ออันดับเท่าใด
•  500 กิโลโอห์ม

ข้อใดต่อไปนี้เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบรายการเชิงเส้น (Linear Data Structure)
•  Binary Tree

ข้อใดเป็นองค์ประกอบของ Class
•  Properties , Method

ข้อกำหนดที่อธิบายขั้นตอนวิธีที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลคือข้อใด
•  Protocol

ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ?
•  ควบคุมการสร้างรายงาน

สถานะที่โปรเซสหยุดรอเหตุการณ์หนึ่ง หมายถึงสถานะใด?
•  Blocked state

ข้อใดหมายถึง “ การทำไปป์ไลน์ของ Pentium ”
•  การทำงานแบบขนานได้หลายคำสั่งภายใน 1 สัญญาณนาฬิกา

ซีพียูรุ่นใดต่อไปนี้ใช้ ซ็อกเกต 7
•  AMD-K5/K6

สายสัญญาณแบบใดนิยมใช้เป็นสาย Backbone ของเครือข่าย
•  สายใยแก้วนำแสง

ข้อใดไม่ถูกต้องตามคุณสมบัติของวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม
•  แรงดันตกคร่อมตัวต้านทานทุกตัวเท่ากัน

เครื่องชนิดใดมีหลัการทำงานโดยใช้โฟโต้เซลล์เป็นตัววัดความเข้มที่ตกกระทบกับเครื่องวัด
•  ลักซ์มิเตอร์

วงจรอิมิตเตอร์ฟอลโลเวอร์หมายถึง
•  วงจรขยายที่แรงดันอิมิตเตอร์เปลี่ยนแปลงตามแรงดันเบส

รายละเอียดข้อมูลที่แสดงคุณสมบัติของเอนทิตี้ คือ
•  Field

การจัดคิวแบบมาก่อนได้ก่อน เรียกว่าอะไร?
•  FCFS

ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เรียกข้อมูลแต่ละรายการว่าอย่างไร
•  Record

ถ้าต้องการประกาศตัวแปรชื่อ result เพื่อเก็บค่าจำนวนเต็ม จะต้องใช้คำสั่งในภาษาซีข้อใด
•  int result;

คีย์หลัก ที่ประกอบด้วยหลายแอททริบิวต์ เรียกว่าอะไร
•  คีย์คู่แข่ง

การที่โปรเซสสร้างโปรเซสย่อยขึ้นมาเรียกว่าอะไร?
•  Spawn

การเปลี่ยนแปลงของ collector current ต่อการเปลี่ยนแปลงของ collector-base leakage current เรียกว่า
•  thermal runaway

ความต้านทาน 3.6 กิโลโอห์ม มีค่าเท่ากับข้อใด
•  3,600 โอห์ม

ผู้ที่ทำหน้าที่บริหารฐานข้อมูล จะทำหน้าที่คล้ายคลึงกับใคร
•  นักวิเคราะห์ระบบ

แรงดันไฟฟ้า 600 mV มีค่าเท่ากับข้อใด
•  0.6 V

เมื่อพบคนถูกไฟฟ้าดูดหมดสติ และหยุดหายใจเราควรช่วยเหลืออย่างไร
•  นวดหัวใจเพื่อให้รู้สึกตัว

ความหมายของโปรเซสคือข้อใด?
•  โปรแกรมที่กำลังถูกเอ็กซีคิ้ว
หน่วยของกระแสไฟฟ้าคือข้อใด
•  แอมแปร์

Method ที่มีชื่อเดียวกันแต่แตกต่างกันที่ Parameter และอยู่ภายใน Class เดียวกัน เรียกว่าอะไร
•  Overloading

สิ่งที่ทำให้ภาษ Java สามารถทำงานกับหลาย Platform คือ
•  JVM,DLL

ค่า 35 มีค่าตรงกับ BCD คือ
•  100011

ถ้าต้องการเก็บ characters string ที่มีขนาดไม่เท่ากันหลายชุดลงในตัวแปรอาร์เรย์ และใช้หน่วยความจำให้มีประสิทธิภาพมากที่สุดควรใช้การเก็บข้อมูลแบบใด
•  กำหนดอาร์เรย์ให้เป็นแบบ Pointer
สื่อกลางที่นิยมใช้ในการสื่อสารข้อมูลคือข้อใด
•  สายเคเบิล

ข้อใดต่อไปนี้คือนิยามของ “QUEUE STRUCTURE”
•  ข้อมูลเข้าก่อนออกก่อน

หน่วยความจำชนิดใดที่อ่านได้อย่างเดียว
•  Rom

ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
•  ทำงานได้ดีกับระบบปฏิบัติการ Windows
IC เบอร์ 74LS08 ทำหน้าที่ใด
•  AND

ความเร็วของสาย CAT5 มีค่าเท่าไร
•  1000 Mbps

อัตราการส่งข้อมูลมีหน่วยเป็น
•  bit

สัญญาณชนิดใดที่ฟังก์ชั่นเจนเนอเรเตอร์สร้างไม่ได้
•  สัญญาณเอ็กโปเนนเชียล

สาเหตุการไบแอสไดโอดในวงจร clipper คือ
•  ถูกทุกข้อ

ระเบียนหมายถึง
•  หน่วยข้อมูลที่เกิดจากการนำเขตข้อมูลมารวมกัน

สายส่งชนิดใดที่มีความยาวสูงสุดได้ในการต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร
•  สาย UTP

ความละเอียด VGA มีความละเอียดเท่าใด
•  640x480

คอมพิวเตอร์ใดต่อไปนี้ที่มีสมรรถนะในการทำงานสูงที่สุด
•  Super Computer

Abstract Data Type ใช้เพื่ออะไร
•  เพื่อให้สามารถนำเสนอ ถ่ายทอด ชนิดข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้ตรงกัน

กำหนดให้ m = 1 หลังจากทำคำสั่งชุดนี้แล้ว a มีค่าเท่าใด while(m != 5) { if( m % 3 == 0) a = m; m++; }
•  5

ข้อใดที่ไม่ใช่ข้อผิดพลาดในการเขียนโปรแกรม
•  Runtime errors

ข้อใดต่อไปนี้หมายถึง ข้อมูล (data)
•  ข้อเท็จจริงที่ได้จากการรวบรวมจากแหล่งข้อมูลรวมกันเป็นเซ็ต
ข้อใดไม่ใช่สถานะของโปรเซส?
•  Delay state

ตัวแปรใดที่ประกาศไม่ถูกต้อง
•  int double;

วงจรที่ทำหน้าที่ยกระดับสัญญาณเรียกว่าอะไร
•  clamper circuit

ข้อใดต่อไปนี้หมายถึงโครงสร้างแฟ้มข้อมูล (File Organization)
•  Binary Tree

ตัวจัดคิวระยะสั้น ของ OS มีหน้าที่จัดสรรอะไร?
•  CPU

ข้อใดให้ผลลัพธ์เป็น false
•  5>10

สารกึ่งตัวนำไดโอดแบ่งเป็นอะไรบ้าง
•  diffusion กับ point contact diode

ข้อใดคือความหมายของคำสั่งเทียม
•  การจำลองการเขียนโปรแกรมโดยใช้คำสั่งที่ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง

ผลลัพธ์ของ x จากคำสั่ง printf จะมีค่าเป็นเท่าใดบ้าง และค่าของ x หลังการทำงานจะมีค่าเป็นเท่าใด x = 2; printf("%d %d %d",++x,x,x++);
•  3,3,3,4

เอาต์พุตเป็น “1” เมื่อมีอินพุตทั้งหมดเป็น “0” คือการทำงานของ Gate ชนิดใด
•  NOR

การอินเตอร์เฟชฮาร์ดดิสก์ชนิด IDE มีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลเท่าใด
•  133 Mbyte/sec

เวลาในการเข้าถึงข้อมูล คิดจากอะไร?
•  เวลาแสวงหา + เวลาแฝง + เวลาการถ่ายเทข้อมูล

ข้อใดคือความหมายของ Accuracy
•  ความใกล้เคียงระหว่างค่าที่อ่านได้จากเครื่องวัดกับค่าจริงของตัวแปร

ถ้าต้องการป้องกันรอยต่อ B-E ของ NPN transistor ไม่ให้ได้รับรีเวิสไบแอสมากจะต้องต่อวงจร clipperแบบใด
•  series negative clipper

ปรากฏการณ์การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระที่เคลื่อนไปรวมกับโฮลเรียกว่าอะไร
•  depletion region

คำสั่งที่ใช้ในการขอดูรายชื่อไฟล์ของระบบ LINUX คือข้อใด?
•  ls

ตัวเก็บประจุมีชื่อเรียกอีกอย่างว่าอะไร
•  คอนเดนเซอร์

ตัวต้านทานค่าคงที่แบบใด ที่ให้ค่าความผิดพลาดน้อยที่สุด
•  แบบฟิล์มโลหะ

หลังจากทำคำสั่งชุดนี้แล้ว a มีค่าเท่าใด a = 0; for(i=10; i < 17; i++) a+=i;
•  108

คลาสในข้อใดที่บอกคุณภาพของเครื่องวัดที่มีค่าความถูกต้องสูง
•  0.5

ผลลัพธ์เมื่อทำคำสั่งชุดนี้ คือ n = 0; if (n != 0) printf("True"); else printf("False");
•  False

การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนภายในตัวนำไฟฟ้า หมายถึงอะไร
•  กระแสไฟฟ้า

ข้อใดไม่ถูกต้องตามกฎของโอห์ม
•  กระแสแปรผันตรงกับความต้านทาน

วงจรเบื้องต้นของวีทสโตนบริดจ์จะใช้เครื่องวัดใดเป็นตัวชี้ค่าที่ตำแหน่งศูนย์พอดี
•  กัลวานอมิเตอร์

IC เบอร์ 74LS04 ใช้ทำหน้าที่ใด
•  NOT

อุปกรณ์ต่อไปนี้ข้อใดเป็น Data Terminal Equipment
•  โมเด็ม

ตัวตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของไฟฟ้ากระแสสลับเรียกว่าอะไร
•  AC Detector

ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงการต่อสายดินได้ถูกต้องที่สุด
•  ถูกทุกข้อ

 “ Pseudo code ” หมายถึงข้อใด
•  การแสดงขั้นตอนด้วยภาษาเทียม

ข้อใดคือวิธีการกระแสเมช
•  กำหนดให้กระแสไฟฟ้าไหลวนในแต่ละวงจรปิด

อินพุต เข้ามาต่างกันจะให้เอาต์พุตเป็น “1” เป็นคุณสมบัติของ Gate ชนิดใด
•  EX- OR

IC ในข้อใดใช้ทำวงจรถอดรหัส
•  74Ls138

จะใช้วงจรใดตี หรือแปลความหมาย
•  DECODER

เมื่อเรานำตัวต้านทานมาต่อขนานกับขดลวดเคลื่อนที่ เป็นการขยายย่านวัดของเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดใด
•  โวลต์มิเตอร์

หน่วยของแรงดันไฟฟ้าคือข้อใด
•  โวลต์

องค์กรใดที่พัฒนารูปแบบของเครือข่ายโดยแบ่งโครงสร้างการติดต่อสื่อสารออกเป็น 7 ชั้น
•  ISO

การวัดแรงดันไฟฟ้าบ่อย ๆ ครั้งทุกๆ หนึ่งชั่วโมงพบว่าค่าที่อ่านได้เกิดการการเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อย จนเกิดการคลาดเคลื่อนเป็นการคลาดเคลื่อนชนิดใด
•  ความคลาดเคลื่อนแบบไม่แน่นอน

การประกาศตัวแปร int arr_i[4] = {10}; ใช้หน่วยความจำเท่าใด
•  4 Byte

หน่วยความจำชั่วคราว RAM ย่อมาจากคำว่า
•  Random Access Memory

ในปัจจุบันเราใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทใดตามที่อยู่อาศัยและสำนักงาน
•  Micro Computer

จากกฏของโอห์ม กำหนดให้แรงดันไฟฟ้าเท่ากับ 50 mV และมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรเท่ากับ 10 ?A จงคำนวณหาค่าความต้านทานรวมในวงจร
•  50,000 โอห์ม

ข้อใดคือความหมายของ Algorithm
•  การกำหนดถึงสิ่งที่โจทย์ต้องการ

ถ้าต้องการทำให้ทรานซิสเตอร์นำกระแสจะต้องป้อนแรงดัน
•  B-E forward bias และ B-C reverse bias

ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการเขียนโปรแกรมแบบมีโครงสร้าง
•  สามารกระโดดไปทำงานในตำแหน่งที่ต้องการได้ทันที 

คำสั่งที่ใช้สร้างรีเลชั่น ก่อนการจัดเก็บข้อมูล คือคำสั่งใด
•  CREATE TABLE

ในปัจจุบันเราใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทใดตามที่อยู่อาศัยและสำนักงาน
•  Micro Computer
 การป้องกันอันตรายในขณะทำงานด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ทำได้โดยวิธีใด
•  ถูกทุกข้อ

จากรหัสสีของตัวต้านทานต่อไปนี้ แดง น้ำตาล ส้ม ทอง อ่านค่าได้เท่ากับข้อใด
•  2.1 กิโลโอห์ม ? 5 %

ค่า (35)8 ตรงกับข้อใด
•  (100111) 2

มี Class ยานพาหนะ ประกอบด้วย สี การออกตัว ขนาด การเคลื่อนตัว ยี่ห้อ การหยุดตัว และราคา องค์ประกอบใดบ้างที่เป็น Properties ของยานพาหนะ
•  การออกตัว การเคลื่อนตัว การหยุดตัว

การวัดแรงดันไฟฟ้าบ่อย ๆ ครั้งทุกๆ หนึ่งชั่วโมงพบว่าค่าที่อ่านได้เกิดการการเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อย จนเกิดการคลาดเคลื่อนเป็นการคลาดเคลื่อนชนิดใด
•  ความคลาดเคลื่อนแบบไม่แน่นอน

ระดับใดของข้อมูลที่เป็นการจัดเก็บข้อมูลจริง
•  ระดับภายนอก

ข้อใดคือ CMOS
•  GND


ปล.อันนี้รวบรวมเท่าที่หาได้นะข้อสอบน่ะบางข้อก็มั่วบ้างตามอัธยาศัย 555+
แต่ผลการสอบได้ประมาณ 70 % นะ

วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

วงจรการพัฒนาระบบ SDLC


1. การกำหนดปัญหา (Problem Definition)
- เป็นขั้นตอนสำหรับการกำหนดขอบเขตของปัญหา 
- สาเหตุของปัญหาในการดำเนินงาน (Problem)
- ความเป็นไปได้กับการสร้างระบบใหม่ (Feasibility Study)
- ความต้องการ (Requirement)
- ซึ่งข้อมูลทั้งหมดสามารถรวบรวมได้โดยวิธีต่าง ๆ
   สัมภาษณ์
   สังเกตการณ์
   แบบสอบถาม
   เอกสารประกอบระบบ
- เมื่อศึกษาข้อมูลทั้งหมดแล้วก็จะสรุปออกมาเป็น Requirement Specification
   (สรุปข้อตกลงร่วมกัน)

สรุปขั้นตอนที่ 1รวบรวมปัญหาและความต้องการ (Requirement Gathering)
ทราบปัญหาและความต้องการที่เกิดจากการดำเนินงาน
ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
Technical
Operational
Economical
สรุปสาเหตุของปัญหา และข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการศึกษา
แล้วยื่นแก่ผู้บริหารเพื่อพิจารณา (Requirement Specification)

ขั้นตอนที่ 1

2. การวิเคราะห์ (Analysis)
    เป็นการวิเคราะห์ขั้นตอนการดำเนินงานในปัจจุบัน
โดยการนำ Requirement Specification มาทำการวิเคราะห์ 
เพื่อนำสิ่งที่วิเคราะห์มาทำแบบจำลอง
Logical Model (DFD, ER, System Flow chart)
เพื่อแสดงถึงรายละเอียดขันตอนการดำเนินงานว่าประกอบไปด้วยขั้นตอนอย่างไรบ้าง

สรุปขั้นตอนที่ 2
- นำ Requirement Specification มาทำการวิเคราะห์ 
- นำสิ่งที่วิเคราะห์มาทำแบบจำลอง Logical Model
- DFD Diagram
- ER - Diagram
- System Flow chart

ขั้นตอนที่ 2

3. การออกแบบ (Design)
- เป็นการนำเอา Logical Model มาพัฒนาเป็น Physical Model
  โดยจะมีความสอดคล้องกัน
- จะทำให้เห็นระบบที่กำลังศึกษา  เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น
- ขั้นตอนนี้  จะนำเอาเทคโนโลยีต่าง ๆ และ Program ทางคอมพิวเตอร์
   เข้ามาช่วยพัฒนา 
ซึ่งการวิเคราะห์และออกแบบต่างกันดังนี้
    - การวิเคราะห์ : มุ่งเน้นการแก้ปัญหาอะไร
    - การออกแบบ  : มุ่งเน้นการแก้ปัญหาอย่างไร

สรุปขั้นตอนที่ 3
- การออกแบบรายงาน (Output Design)
- การออกแบบจอภาพ (Input Design)
- การออกแบบข้อมูลนำเข้า  และรูปแบบการรับข้อมูล (Input/Output Format)
- การออกแบบผังระบบ (System Flowchart)
- การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design)
- การสร้างต้นแบบ (Prototype)

ขั้นตอนที่ 3


4. การพัฒนา (Development)
- เป็นขั้นตอนของการพัฒนาระบบ หรือ โปรแกรมที่จะนำมาใช้
- ซึ่งเป็นการสร้างชุดคำสั่ง (Coding)
- โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมกับเทคโนโลยีที่กำลังใช้อยู่
- พร้อมทั้งอาจจำเป็นต้อง HW ที่สนับสนุนการสร้างโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพ
   กับงานนั้น ๆ ด้วย

สรุปขั้นตอนที่ 4
- พัฒนาโปรแกรมที่ได้จากการวิเคราะห์แบบออกแบบไว้
- โดยเลือกจากภาษาที่เหมาะสม และถนัด ง่ายแก่การทำความเข้าใจ
- ซึ่งบางครั้งอาจจะนำ CASE Tools เข้ามาช่วยพัฒนา
   (เพื่อเพิ่มความสะดวกช่วยตรวจสอบความผิดพลาด  และการแก้ไขที่รวดเร็วยิ่งขึ้น)
- พร้อมกับสร้างเอกสารประกอบโปรแกรม

ขั้นตอนที่ 4 

5. การทดสอบ (Testing)
- เป็นขั้นตอนของการทดสอบระบบก่อนที่จะนำไปใช้งานจริง
- โดยนำเอาระบบหรือโปรแกรมที่สร้างมาทดสอบกับข้อมูลเบื้องต้นเสียก่อน
- ซึ่งถ้าหากเกิดข้อผิดพลาดจะต้องย้อนกลับไปขั้นที่ 4 อีกครั้ง
- การตรวจสอบระบบทั้ง 2 ประเภท
   - ตรวจสอบ Syntax
   - ตรวจสอบ Objective

สรุปขั้นตอนที่ 5
- ระหว่างพัฒนาจะต้องมีการทดสอบระบบไปด้วย 
- โดยทำการทดสอบด้วยข้อมูลที่จำลองขึ้น
- ทดสอบระบบด้วยการตรวจสอบทั้ง Verification และ Validation
   - Verification = การตรวจสอบความถูกต้องโดยรายละเอียดงาน
   - Validation = การตรวจสอบความถูกต้องโดยความต้องการของผู้ใช้งาน

6. การติดตั้ง (Implementation)
- เมื่อระบบได้ทำการสร้างจนเสร็จสมบูรณ์แล้ว (ทดสอบแล้ว)
- จึงต้องมีการติดตั้งระบบเพื่อให้ระบบได้มีการใช้งานจริงต่อไป

สรุปขั้นตอนที่ 6
- ควรศึกษาและสังเกตสิ่งแวดล้อมของระบบก่อนติดตั้ง
- เตรียมความพร้อมของ SW, HW, Network System
- ในบางขั้นตอนอาจจำเป็นต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญระบบ
- ควรมีคู่มือการใช้งานระบบ และการอบรมการใช้ระบบงานควบคู่กันไปหลังการติดตั้งระบบ 
   เพื่อการใช้ระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

7. การบำรุงรักษา (Maintenance)
- ระบบที่สร้างขึ้นทุก ๆ ระบบ ไม่มีระบบใดที่เสถียรตลอดเวลา 
- เพราะต้องเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งแวดล้อมและความต้องการของผู้ใช้ 
   หรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นด้วยสาเหตุใดใดก็ตาม
- โปรแกรมเมอร์หรือผู้พัฒนาต้องรีบปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
- ทั้งนี้และทั้งนั้นก็ขึ้นอยู่กับข้อตกลงและ Requirement Specification ด้วย

สรุปขั้นตอนที่ 7
- ในการบำรุงรักษาอาจจะเกิดขึ้นได้จากสาเหตุดังต่อไปนี้
   - ข้อผิดพลาดบางประการจากการเขียนคำสั่ง (Coding)
   - การเพิ่มคุณสมบัติบางอย่าง (New Requirement)
- การบำรุงรักษาอาจหมายถึงทั้งในทาง Software, Hardware

Software Engineering
- การพัฒนา Software มีลักษณะคล้ายกับการสร้างสิ่งก่อสร้าง บ้านเรือน
- คือ การมีกระบวนการทางวิศวกรรมเข้ามาช่วย  ในการจัดวางโครงสร้าง
   และพัฒนา Software ในแต่ละขั้นตอน
- ทำให้การพัฒนา Software มีความเป็นระบบระเบียบมากขึ้น สามารถตรวจสอบและติดตามผลได้ 
   - มีประสิทธิภาพ
   - ใช้ทรัพยากรน้อยแต่ผลงานมีคุณภาพ
   - คงทนและสามารถใช้ได้ในระยะยาว

เปรียบเทียบ บ้าน VS ระบบ

คุณสมบัติของ Software ที่มีคุณภาพ
- มีความถูกต้อง (Correctness)
- มีความน่าเชื่อถือ (Reliability)
- ใช้งานง่าย (User friendliness)
- มีความง่ายต่อการปรับเปลี่ยน (Adaptability)
- สามารถนำกลับมาใช้งานใหม่ได้ (Reusability)
- มีความเข้ากันได้กับระบบที่แตกต่าง (Interoperability)
- มีประสิทธิภาพ (Efficiency)
- มีความสะดวกในการเคลื่อนย้าย (Portability)
- มีความปลอดภัย (Secutity)

ขั้นตอนการพัฒนาที่มีคุณภาพ

การตรวจสอบ 2 ระดับ

Verification  คือ การตรวจสอบความถูกต้องหลังจากยอมรับในรายละเอียด (Specification)
Validation คือ การตรวจสอบความถูกต้องโดยพิจารณาความต้องการของผู้ใช้งาน

Water Fall Model
- Water Fall Model หมายถึง โมเดลน้ำตก
- แสดงถึงการมีขั้นตอนการทำงานที่สามารถจะวนหรือย้อนกลับไปแก้ไขได้


The Spiral Process Model


อ้างอิงมาจาก http://sci.feu.ac.th/boonrit/SA/S_1.ppt